วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558
หน้าที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพุทธ
พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
พระอภิธรรมปิฎก คือ
เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า
บุคลาธิษฐาน โดยที่พระพุทธเจ้าทรงปรารภบุคคลเป็นต้น แล้วทรงถือโอกาสแสดงธรรมเทศนา
ที่มีลักษณะเป็น ธรรมาธิษฐานบ้าง แต่ก็มีเป็นส่วนน้อย อ่านเพิ่มเติม
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา
ส่วนใหญ่จะยึดตามปฏิทินจันทรคติ
เป็นวันที่เคยมีเหตุการณ์สำคัญเกี่ยวกับพุทธประวัติ
และเหตุการณ์ที่สำคัญเกี่ยวกับศาสนาพุทธ และ วันสำคัญทางศาสนาพุทธ
ที่ชาวพุทธยึดถือปฏิบัติมายาวนาน มีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
การบริหารจิต
พระพุทธศาสนามีหลักคำสอนที่เน้นเรื่อง
การฝึกควบคุมการ วาจาและจิตใจไปพร้อมกัน ทั้งนี้เพราะพระพุทธศาสนาถือว่าเมื่อกาย
วาจา สงบนิ่ง และควบคุมจิตให้สนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพียงเรื่องเดียว
ความรู้ความเข้าใจตามสภาพความเป็นจริงก็จะเกิดขึ้นตามมา การควบคุมกาย วาจา
ให้สงบเรียบร้อย เรียกว่า ศีล การควบคุมจิตให้สนใจสนใจเพียงเรื่องเดียว เรียกว่า
สมาธิ ความรู้ อ่านเพิ่มเติม
วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558
ศาสนาต่างๆในไทย
ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่เก่าแก่และเชื่อว่าเกิดก่อนพุทธกาลไม่น้อยกว่า ๕,000
ปี
ตลอดจนเป็นต้นตำหรับของศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และอื่น ๆ
การเกิดของศาสนาพราหมณ์แตกต่างกับศาสนาอื่น ๆ เช่น ศาสนาพุทธ
คริสต์ และอิสลามที่เกิดขึ้นเพราะมีคน ๆ
หนึ่งค้นพบความสำเร็จในหลักธรรม
แล้วสั่งสอนคนทั้งหลายในฐานะเป็นศาสดาคำสอนที่ท่านสอนก็เป็นศาสนา แต่ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่ไม่มีศาสดาโดยคำสอนต่าง
ๆที่เกิดขึ้นเพราะมีผู้รวบรวมลัทธิดั้งเดิมของชาวชมพูทวีป (อินเดีย - เนปาล) อ่านเพิ่มเติม
ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและชาวพุทธตัวอย่าง
แม้พระพุทธเจ้าปรินิพพานไปเป็นเวลากว่า 2,500
ปีแล้ว แต่พระคุณของพระองค์ที่มีต่อชาวโลกก็ยังคงปรากฏอยู่
ชาวพุทธจึงควรระลึกถึงและประพฤติปฏิบัติตามพระคุณของพระองค์เพื่อให้เกิด ผลดีแก่ตนและสังคมส่วนรวม พุทธสาวก
พุทธสาวิกาและชาวพุทธตัวอย่างมีประวัติ ผลงาน และคุณธรรมที่มีคุณค่าควรแก่การศึกษา
ดังนั้นเราจึงควรศึกษาประวัติของท่านเหล่านี้
และนำคุณธรรมมาเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิต อ่านเพิ่มเติม
หลักธรรมทางประพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่บังเกิดขึ้นเพื่อช่วยเหลือมนุษย์ในโลกนี้ ให้หลุดพ้นจากความทุกข์
เพราะมนุษย์ต้องอยู่เป็นกลุ่มในสังคมที่ทุกคนยอมรับว่าเป็นสังคมที่มีความเจริญรุ่งเรือง เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบายในการดำรงชีพ
แต่ขณะเดียวกันก็เกิดความไม่สงบขาดความมั่นคงด้าน
จิตใจ
ขาดหลักที่พึ่งทางใจทำให้มีปัญหาต่อการดำรงชีวิตของตนเองและส่วนรวม
หลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าจึงมุ่งที่สอนให้มนุษย์มีหลักที่พึ่งทางใจ และมีแนวทางการประพฤติปฏิบัติที่จะทำให้เกิดมงคลแก่ชีวิต
อันจะทำให้มนุษย์สามารถอยู่รวมกันในสังคมด้วยความสงบสุขและเจริญก้าวหน้า อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)